พาราเซตามอล

ยาแก้ปวดมีกี่ชนิด อะไรบ้าง ใช้อย่างไรให้เหมาะสม?

ยาแก้ปวด นับเป็นยาสามัญประจำบ้านที่เรียกได้ว่า แทบทุกบ้านต้องมีติดไว้ เพราะสามารถออกฤทธิ์ระงับความเจ็บปวดได้หลากหลายและรวดเร็ว แต่รู้หรือไม่ว่า ยาประเภทระงับความปวด (Painkiller/Analgesic) มีแบ่งได้ถึง 4 กลุ่มง่ายๆ ทั้งแบบที่เป็นสามัญประจำบ้าน และแบบที่แพทย์ต้องสั่งจ่าย 1. กลุ่มพาราเซตามอล และแอสไพริน กลุ่มยาพาราเซตามอล (อะเซตามิโนเฟน) ระงับอาการปวดโดยการขัดขวางกระบวนการเปลี่ยนกรดอะราคิโนติก เป็น โพรสตาแกลนดิน ซึ่งส่งผลให้ อาการปวด ไข้ และบวม ลดลง เป็นยาที่ปลอดภัย ใช้ระงับอาการปวดอ่อนๆ ได้ดี...

ยา”พารา” กินอย่างไรให้ไม่ทำลายสุขภาพ!

คงจะเป็นยาที่ได้ชื่อว่า สามัญประจำบ้าน ประจำโต๊ะทำงาน หรือแม้แต่ประจำกระเป๋าที่สุดแล้ว ยาพารา หรือ พาราเซตามอล เป็นยาที่ช่วยลดอาการเจ็บปวดเบื้องต้นระดับอ่อนถึงปานกลาง ลดไข้ ลดอาการปวดศีรษะ ปวดประจำเดือน มีผลข้างเคียงน้อย ใช้ได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ เรียกได้ว่า คิดอะไรไม่ออก ก็กินยาพารากันไว้ก่อน แม้ว่ายาพาราเซตามอลจะนับว่าปลอดภัยอย่างไร แต่การใช้ยามากเกินความจำเป็นหรือใช้มากเกินไปในแต่ละครั้งก็อาจนำไปสู่ภาวะ ความเป็นพิษต่อตับ (hepatotoxicity) จนไปถึง ภาวะตับวายอย่างเฉียบพลัน (acute liver failure)ซึ่งนำไปสู่การเสียชีวิตได้ เราควรจะกินยาพาราเซตามอลอย่างไรให้เหมาะสม? การทานยาพาราไม่ใช่ว่าทานมากแล้วจะช่วยลดอาการปวด หรือลดอาการได้มากอย่างที่หลายๆ คนเข้าใจกัน โดยคร่าวๆ แล้วมีวิธีการคำนวณปริมาณการทานยาต่อน้ำหนักตัวคือ น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม...