Nutrition

6 ข้อดีของถั่วเหลืองที่มีต่อสุขภาพ

http://www.malayalamlive.co/natural-ways-to-reduce-cholestrol/ สารต้านอนุมูลอิสระในถั่วเหลืองอาจช่วยป้องกันมะเร็งหลายชนิดรวมไปถึงป้องกันการแก่ชราก่อนวัยอันควรด้วย อาจช่วยชะลอ หรือป้องกันการเสื่อมของไตในผู้ที่ไตทำงานบกพร่อง ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลในเลือด ช่วยรักษาความหนาแน่นของมวลกระดูก และป้องกันภาวะกระดูกพรุน ช่วยลดความดันโลหิตในหญิงวัยหมดประจำเดือน อาจบรรเทาอาการร้อนวูบวาบในวัยทองได้ http://agriculturewire.com/soybean-futures-edge-higher-on-lower-production/

อาหาร และผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง ทางเลือกในการบริโภค?

http://proseeds.ca/top-3-reasons-consumers-love-soybean-products/ เมล็ดถั่วเหลือง มีทั้งแบบทอดกรอบ และแบบอบแห้ง มักมีการเติมเกลือหรือปรุงรสเพิ่ม จัดเป็นแหล่งของโปรตีน เส้นใยอาหาร และไอโซฟลาโวนที่ยอดเยี่ยม แต่อย่างไรก็ตามไม่ควรลืมว่าเมล็ดถั่วเหลืองก็ไม่ต่างจากถั่วอื่น ๆ ที่มีไขมันสูงและแคลอรีสูง http://farmfutures.com/story-weekly-soybean-review-0-30767 ถั่วเพาะงอก เกิดจากเมล็ดถั่วเหลืองที่ถูกนำมาเพาะเป็นเวลาประมาณ 6 วัน เป็นแหล่งของโปรตีน และเส้นใยอาหารที่ดี สามารถเติมลงในอาหารจานผักได้ง่าย http://www.everydayjuicer.com/soybean-sprouts/ ถั่งเหลืองฝักอ่อน และยอดอ่อนสด เป็นฝัก หรือต้นอ่อนของถั่วเหลืองต่างจากถั่วเหลืองเมล็ดแห้ง คือ นำมารับประทานตั้งแต่เป็นต้นอ่อนโดยการนึ่งอย่างเดียวกับผักสด เป็นแหล่งโปรตีน เส้นใยอาหาร และไอโซฟลาโวนที่ดี อาหารว่างซึ่งเป็นที่นิยมของญี่ปุ่นนั้นเอง...

ดัชนีไกลซีมิก Glycemic Index (GI) ดัชนีวัดค่าคาร์โบไฮเดรต!!

http://blog.fooducate.com/2013/07/26/four-myths-about-the-glycemic-index/ เมื่อพูดถึงการจัดอันดับโดยหน่วยวัดที่เรียกว่า “ดัชนีไกลซีมิก” ซึ่งเป็นการคำนวณว่าน้ำตาลในเลือดจะสูง และเร็วเพียงใดหลังจากที่รับประทานอาหารแต่ละชนิดเข้าไป อาหารที่มีดัชนีไกลซีมิกสูงจะมีคาร์โบไฮเดรตสูง (น้ำตาลและแป้งสูง) และส่งผลให้น้ำตาลกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือดอย่างรวดเร็ว กลูโคสไม่ได้ผิดอะไร (มันเป็นดั่งเชื้อเพลิงที่ทุกเซลล์ในร่างกายต้องการใช้) แต่ในการจัดการกับกลูโคส ตับอ่อนต้องสร้างอินซูลินขึ้นมา ยิ่งคุณรับประทานอาหารที่มีไกลซีมิกสูง ตับอ่อนต้องทำงานหนักมากขึ้น และหากมันต้องทำงานหนักเกินไป บ่อยเกินไป มันก็อาจหมดแรงและส่งผลให้เกิดภาวะเบาหวานตามมาได้ http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/hormone/chapter3/insulin_hormone.htm ยิ่งไปกว่านั้น คือ อาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตที่มีไกลซีมิกสูงยังทำให้น้ำตาลในเลือดสูงขึ้น และอินซูลินก็จะสูงขึ้นตาม อินซูลินที่สูงนี้จะไปเปลี่ยนน้ำตาลส่วนเกินให้กลายเป็นไขมัน และนี่คือเหตุผลว่า ทำไมอาหารไขมันต่ำ หรืออาหารไร้ไขมันยังคงทำให้คนยังมีไขมัน http://www.tuvayanon.net/I-ep6-001001A-570909-1335.html ดัชนีไกลซีมิกให้คะแนนอาหารโดยประเมินว่า...