บทความและสาระน่ารู้ดีๆ จากทีมงาน Arincare

ออร์นิทีน และอาร์จีนีน…เกี่ยวข้องอย่างไรกับ “โกร๊ธฮอร์โมน”

http://nootriment.com/arginine-ornithine-lysine/ ออร์นิทีน และอาร์จีนีนเป็นกรดแอมิโนที่เกี่ยวข้องกับการหลั่งของโกร๊ธฮอร์โมน และจัดว่าเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประเภทกรดแอมิโนที่ดังที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากคุณสมบัติในการช่วยให้คุณผอมลง และหุ่นดีขึ้นขณะนอนหลับนั้นเอง ในขณะที่ฮอร์โมนบางตัวกระตุ้นร่างกายให้กักเก็บไขมัน โกร๊ธฮอร์โมนกลับทำงานอย่างขยันขันแข็งในการกำจัดไขมัน ไม่เพียงแต่จะส่งผลให้คุณดูผอมลง แต่ยังช่วยเพิ่มพลังงานให้อีกด้วย http://www.museudelrock.com/pros-and-cons-of-human-growth-hormone-treatment/ ออร์นิทีนกระตุ้นการหลั่งของอินซูลิน และช่วยอินซูลินในการทำงานในฐานะฮอร์โมนชนิดเสริมสร้างกล้ามเนื้อ นักเพาะกายจึงนิยมรับประทานเสริมอาหาร การรับประทานออร์นิทีนเพิ่มจะช่วยเพิ่มระดับของอาร์จินีนในร่างกาย ที่จริงแล้วอาร์จีนีนถูกสร้างขึ้นมาจากออร์นิทีนและ ออร์นิทีนเองก็เปลี่ยนมาจากอาร์จีนีน เป็นวัฏจักรต่อเนื่องกัน http://www.athletespower.com/supplements/arginine-supplements-cause-gradual-decrease-in-igf-1/ เนื่องจากอาร์จีนีน และออร์นิทีนมีความใกล้เคียงกันมาก คุณสมบัติ และข้อควรระวังทั้ง 2 ตัวนี้จึงใช้ร่วมกันได้ ในรูปแบบของผลิตภัณฑ์อาหารเสริมนั้น ออร์นิทีนจะทำงานได้ดีที่สุดหากรับประทานในเวลาเดียวกัน และรูปแบบเดียวกันกับอาร์จีนีน...

เลซิติน (Lecithin) ช่วยจับไขมัน และคอเลสเตอรอลในกระแสเลือดได้นะ �

http://ozenherb.weebly.com/3648362135953636360536363609.html เลซิตินคืออะไร? เป็นสารธรรมชาติที่ประกอบด้วยฟอสฟอรัสกับไขมันบางชนิด และวิตามินในกลุ่มวิตามินบี ไม่สำคัญว่าเลซิตินประกอบด้วยสารใดบ้างแต่สิ่งสำคัญ คือ เลซิตินเป็นหน่วยพื้น ฐานในทุกๆ เซลล์ของสิ่งมีชีวิต ที่สำคัญไปกว่านี้ก็คือเลซิตินนั้นช่วยจับไขมัน และคอเลสเตอรอลในกระแสเลือด ด้วยคุณสมบัติอันน่ามหัศจรรย์ของเลซิติน คือ การที่เลซิตินสามารถละลายในได้ทั้งน้ำและไขมัน เลซิตินจึงละลายอยู่ในกระแสเลือดแล้วคอยจับเอาไขมัน หรือคอเลสเตอรอลที่ล่องลอยอิสระในกระแสเลือด และไขมันที่เกาะตามผนังหลอดเลือดไว้ ด้วยวิธีนี้ของเลซิตินจึงทำความสะอาดระบบหมุนเวียนโลหิตได้ ส่วนประกอบที่พบมากที่สุดในเลซิติน คือ สารฟอสฟาติดิลโคลี (phosphatidylcholine) ซึ่งเป็นแหล่งอาหารอันอุดมไปด้วยสารโคลีน โคลีนจัดเป็นสารประกอบในกลุ่มของวิตามินบี ที่มีความสำคัญ คือ เป็นวัตถุดิบในการผลิตสารสื่อประสาทในสมองของเราสารดัง กล่าวคือ อะเซทิลโคลีน ประโยชน์ของ เลซิติน...

ธาตุเหล็ก (Iron) บริโภคอย่างไรให้พอดี????

http://www.medicinenet.com/hemoglobin/article.htm “เหล็ก” เป็นแร่ธาตุที่จำเป็นต่อร่างกายอย่างยิ่ง มีความสำคัญต่อการผลิตเฮโมโกลบินส่วนประกอบที่สำคัญของเม็ดเลือดแดง, ไมโอโกลบินที่เป็นเม็ดสีแดงในกล้ามเนื้อ และเอนไซม์บางชนิด เฮโมโกลบินซึ่งเป็นที่สะสมของธาตุเหล็กส่วนใหญ่ในร่างกาย ถูกย่อยสลายและนำกลับมาใช้ใหม่ ตามวงจรชีวิตของเม็ดเลือดแดงซึ่งมีระยะเวลา 120 วัน ส่วนธาตุเหล็กที่เกาะกับโปรตีน (เฟอร์ริติน) และธาตุเหล็กในเนื้อเยื่อ (ในไมโอโกลบิน) ถูกเก็บสะสมในร่างกายในเพียงปริมาณเล็กน้อย มีเพียงแค่ร้อยละ 8 ของธาตุเหล็กที่รับประทานเข้าไปเท่านั้นที่ร่างกายดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดได้ ผู้ใหญ่ที่มีน้ำหนักตัวประมาณ 70 กก. จะมีธาตุเหล็กประมาณ 4 กรัมในร่างกาย แร่ธาตุนี้ดีต่อร่างกายอย่างไร ช่วยการเจริญเติบโต ส่งเสริมความต้านทานการเจ็บป่วย ป้องการการอ่อนเพลีย รักษาและป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก...

มารู้จักกับระบบย่อยอาหารของเรากันเถอะ…ตอนที่ 1 ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร

https://mirandaswellness.com/2014/04/22/going-with-your-gut-part-1-the-mouth/ ปาก เริ่มต้นด้วยการเคี้ยวบดอาหาร และการผสมรวมกับน้ำลาย เอนไซม์ที่มีชื่อว่า “ไทยาลิน” ในน้ำลายเริ่มกระบวนการย่อยแป้งให้เป็นน้ำตาลโมเลกุลเล็ก http://www.bwc.ac.th/e-learning/virachai02/yoiarhan.htm http://www.bbc.co.uk/education/guides/zwqycdm/revision/3 หลอดอาหาร จากนั้นอาหารจึงถูกส่งผ่านไปยังส่วนของช่องปาก และต่อลงไปยังหลอดอาหาร เพื่อเข้าสู่ขั้นตอนการบีบรูด Peristalsis ซึ่งเป็นกระบวนการคล้าย ๆ กับรีดนมวัว สลับกับการคลายเป็นจังหวะของกล้ามเนื้อที่เคลื่อนอาหารไปตลอดทางเดินอาหาร เพื่อป้องกันการไหลย้อนกลับและเพื่อกำหนดเวลาที่เหมาะสมในการปล่อยเอนไซม์แต่ละตัว เนื่องเอนไซม์แต่ละตัวไม่สามารถทำงานข้ามหน้าที่กันได้ http://www.pw.ac.th/main/website/sci/3_data.htm ทางเดินอาหารเรามีลิ้นเปิด-ปิดตามบริเวณลอยต่อที่สำคัญ ลิ้นเล็ก ๆ ที่ส่วนปลายของหลอดอาหารจะเปิดนานพอที่จะให้ชิ้นส่วนอาหารที่ผ่านการเคี้ยวมาแล้วเข้าสู่กระเพาะ ในบางครั้งโดยเฉพาะช่วงหลังอาหาร ลิ้นนี้จะคลายตัว ส่งผลให้คุณเรอออกมา...

มารู้จักกับระบบย่อยอาหารของเรากันเถอะ…ตอนที่ 2 ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่

http://www.healthcareglobal.com/finance/2077/The-six-most-expensive-medical-procedures-as-of-2015 ลำไส้เล็ก (Small Intestine) ลำไส้เล็กมีความยาว 22 ฟุต เป็นส่วนที่กระบวนการย่อยอาหารเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ และเกิดการดูดซึมสารอาหารทุกชนิด ลำไส้เล็กมีภาวะเป็นด่างซึ่งเกิดจากความเป็นด่างสูง น้ำย่อยจากตับอ่อน และของเหลวที่ผนังลำไส้เล็กหลั่งออกมา สภาวะแวดล้อมที่เป็นด่างนี้จึงจำเป็นต่อขั้นตอนที่สำคัญที่สุดของการย่อยอาหาร และการดูดซึม http://www.organsofthebody.com/small-intestine/ ลำไส้เล็กส่วนต้น (Duodenum) ซึ่งเป็นส่วนทีต่อจากกระเพาะอาหารจัดเป็นส่วนแรกของลำไส้เล็ก ต่อเข้าสู่ ลำไส้เล็กส่วนกลาง (Jejunum) ยาวประมาณ 10 ฟุต ซึ่งต่อเข้ากลับ ลำไส้เล็กส่วนปลาย (Ileum) ยาวประมาณ 10–12 ฟุต เมื่ออาหารกึ่งเหลวในลำไส้เล็กถูกบีบให้เคลื่อนตัวด้วยกระบวนการบีบรูด เรามักจะพูดว่าได้ยินเสียง ”ท้องร้อง” จริง ๆ แล้วท้อง...

มารู้จักกับระบบย่อยอาหารของเรากันเถอะ…ตอนที่ 3 ตับ ถุงน้ำดี และตับอ่อน

http://drinkingalkalinewater.com/การล้างพิษตับ.html ตับ (Liver) ตับเป็นอวัยวะที่มีลักษณะเป็นชิ้นจับต้องได้ที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย หนักประมาณเกือบ 2 กิโลกรัม เป็นโรงงานอุตสาหกรรมเคมีที่หาที่เปรียบไม่ได้ ตับสามารถปรับโครงสร้างทางเคมีของสารเกือบทุกชนิด เป็นอวัยวะขับสารพิษที่ทรงพลังสามารถย่อยสลายโมเลกุลของสารพิษหลากหลายประเภท และเปลี่ยนให้สารเหล่านั้นไม่มีอันตราย ตับยังเป็นคลังเก็บเลือด และเป็นอวัยวะที่เก็บสะสมวิตามิน เช่น เอและดี รวมไปถึงแป้งที่ย่อยสลายแล้ว (ไกลโคเจน) ซึ่งจะถูกปล่อยออกมาเพื่อรักษาระดับน้ำตาลในเลือด ตับเป็นแหล่งผลิตเอนไซม์ คอเลสเตอรอล โปรตีน วิตามินเอจากแคโรทีน และสารที่ช่วยให้เลือดแข็งตัว หน้าที่หลักอีกอย่างคือการสร้างน้ำดี น้ำดีประกอบด้วยเกลือที่ช่วยในการย่อยไขมัน โดยผ่านกระบวนการอีมัลซิฟิเคชัน (การทำให้เป็นเนื้อเดียวกัน) http://topicstock.pantip.com/wahkor/topicstock/2011/02/X10220544/X10220544.html...

ทำความรู้จักกับ “อินอซิทอล (Inositol)” กันเถอะ

http://www.skinpick.com/inositol-dermatillomania อินอซิทอล คืออะไร? เป็นวิตามินที่ละลายในน้ำ เป็นหนึ่งในตระกูลวิตามินบีรวม และเป็นสารที่ช่วยเร่งกระบวนการเผาผลาญไขมัน มีหน่วยวัดเป็นมิลลิกรัม รวมตัวกับโคลีน กลายเป็นเลซิทิน ช่วยในการเผาผลาญไขมันและคอเลสเตอรอล อินอซิทอลเป็นสารอาหารสำคัญในการให้พลังแก่เซลล์สมองเช่นเดียวกับโคลีน ข้อดีของอินอซิทอลต่อร่างกาย ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอล ช่วยให้เส้นผมมีสุขภาพดี ป้องกันการขาดหลุดร่วง ช่วยป้องกันผื่นผิวหนังอักเสบขนิดเอ็กซีมา ช่วยปรับการสะสมของไขมันตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โรคจากการขาดอินอซิทอล ผื่นผิวหนังอักเสบชนิดเอ็กซีมา http://www.healthcarethai.com/ผื่นแพ้เอ็กซิมาatopic-eczemaatopic-dermatitis/ แหล่งธรรมชาติของอินอซิทอล http://inositolpowderhub.com/ ตับ บริวเวอร์ยีสต์ ถั่วลิมาแห้ง สมองและหัวใจวัว...

คุณเคยได้ยินคำว่า “โคลีน” หรือไม่????

เป็นหนึ่งในวิตามินบีรวม และเป็นหนึ่งในสารที่ช่วยเร่งกระบวนการเผาผลาญไขมันในร่างกาย ทำงานร่วมกับอินอซิทอลในกระบวนการใช้ไขมันและคอเรสเตอรอลของร่างกาย เป็นสารไม่กี่ตัวที่สามารถผ่านระบบกรองระหว่างเลือดและสมองซึ่งเป็นระบบที่ปกป้องสมองจากสารหลากหลายในอาหารที่เรารับประทานเข้าไป โคลีนจะตรงเข้าไปยังเซลล์สมองเพื่อผลิตสารเคมีที่ช่วยเรื่องความทรงจำ ช่วยในการกระจายตัวของคอเรสเตอรอล ไม่ให้คอเรสเตอรอลเกาะที่ผลังเส้นเลือดแดงหรือผนังของถุงน้ำดี การใช้โคลีนในร่างกายขึ้นอยู่กับวิตามินบี 10 กรดโฟริก และกรดแอมิโนแอล-คาร์นิทีน ข้อดีของโคลีนต่อร่างกาย ช่วยลดการสะสมของคอเลสเตอรอล ช่วยในกระบวนการส่งกระแสประสาท โดยเฉพาะในสมองส่วนที่ทำหน้าที่ด้านความจำ ช่วยต่อสู้กับปัญหาความจำเสื่อมในผู้สูงอายุ ช่วยกำจัดสารพิษและยาที่ตกค้างในร่างการ โดยช่วยเสริมการทำงานของตับ โรคจากการขาดโคลีน อาจส่งผลให้เกิดโรคตับแข็งหรือไขมันสะสมที่ตับ ผนังหลอดเลือดแดงแข็งตัว และอาจเกี่ยวข้องกับโรคอัลไซเมอร์ https://www.liverdoctor.com/liver/fatty-liver/ แหล่งจากธรรมชาติของโคลีน ไข่แดง เนื้อสัตว์ ปลา ผักใบเขียว ยีสต์ ตับวัว จมูกข้าวสาลี...

วาเนเดียม (Vanadium) มีประโยชน์ต่อร่างกายอย่างไร?

http://hosted.verticalresponse.com/809601/82841e10a2/1473590141/ วาเนเนียมในรูปแบบผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร รูปแบบที่แนะนำ คือ วาเนเดียมที่ผ่านการคีเลชันโดยการจับเข้ากับกรดแอมิโน และยังมีจำหน่ายในรูปแบบของวาเนดิลซันเฟต ซึ่งเป็นรูปแบบที่ออกฤทธิ์ทางชีวภาพ ขนาดโดยทั่วไปคือ 50 มคก. ของวาเนเดียมต่อวัน และยังไม่ทราบโรคที่เกิดจากการขาดวาเนเดียม คำเตือน **ผู้ที่เป็นเบาหวานควรปรึกษาแพทย์ก่อนรับประทาน** ประโยชน์ของวาเนเดียม (Vanadium) วาเนเดียมขัดขวางการก่อตัวของคอเลสเตอรอลในเส้นเลือด จำเป็นต่อการสร้างกระดูก และฟัน ทำหน้าที่คล้ายฮอร์โมนอินซูลิน ช่วยควบคุมภาวะดื้อต่ออินซูลิน และโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ช่วยให้สารอาหารเข้าสู่เซลล์ได้ดี และเพิ่มพลังงาน ช่วยป้องกันหัวใจวายเฉียบพลัน อาการเป็นพิษหากรับประทานมากไป หากรับประทานในรูปแบบสังเคราะห์มากเกินไปจะทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้ง่าย แหล่งธรรมชาติของวาเนเดียม...

9 ประโยชน์หลักของ “สังกะสี (Zinc)”

http://www.silox.com/EN/SILOX-ENGIS/zinc.php การทำงานของธาตุสังกะสี ธาตุสังกะสี หรือซิงค์ ทำงานคล้าย ๆ เป็นตำรวจ คอยควบคุมให้กระบวนการต่าง ๆ ในร่างกาย ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และยังคอยช่วยซ่อมบำรุงระบบเอนไซม์ และเซลล์ต่าง ๆ อีกด้วย หากมีเหงื่ออกมากเกินไป อาจทำให้สูญเสียซิงค์ได้ถึง 3 มก.ต่อวัน https://optimalhealthresource.wordpress.com/2011/12/15/zinc-is-critical-to-forming-and-retaining-memories-and-cognition/ ธาตุสังกะสีสำคัญอย่างไรต่อร่างกายเรา มีความสำคัญต่อการสร้างโปรตีน และคอลลาเจน ควบคุมการหดตัวของกล้ามเนื้อ ช่วยในการสร้างฮอร์โมนอินซูลิน ยังเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์สำคัญมากมาย รวมทั้งสารต้านอนุมูลอิสระอย่างซูเปอร์ออกไซด์ดิสมิวเทส (เอสโอดี) มีความสำคัญต่อความเสถียรของเลือด (ช่วยให้ความเข้มข้นของวิตามินอีในเลือดอยู่ในระดับที่เหมาะสม) และช่วยควบคุมสมดุลกรด...