HEALTHCARE

โปรตีนจากถั่วเหลืองดีกว่าเนื้อสัตว์อย่างไร?

http://agriculturewire.com/soybean-futures-edge-higher-on-lower-production/ ทำไมคนส่วนใหญ่ไม่ชอบรับประทานถั่วเหลือง เป็นเวลาหลายศตวรรษแล้วที่ชาวจีนและชาวญี่ปุ่นนิยมรับประทานอาหารที่มีถั่วเหลืองอย่างยิ่ง และเก็บเกี่ยวประโยชน์ที่ช่วยต่ออายุให้ยืนยาว อีกทั้งชาวญี่ปุ่นยังมีอัตราการตายจากมะเร็งและโรคหัวใจต่ำกว่าชาวอเมริกันมาก ในปัจจุบันนักวิจัยเชื่อว่าการรับประทานอาหารที่ทำมากจากถั่วเหลืองเพิ่มเพียงแค่ 2 ออนซ์ในอาหารแต่ละวัน จะเป็นดั่งเกราะที่คุ้มกันโรคต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ http://ohmyveggies.com/recipe-baked-barbecue-tofu-tofu-for-tofu-haters/ ถั่วเหลืองมีเส้นใยอาหาร และไฟโตเอสโทรเจนสูง โดยเฉพาะไอโซฟลาโวนที่สำคัญสองตัวคือ เจนิสทีน และเดดซีน ทั้งยังเป็นหนึ่งในอาหารจากพืชไม่กี่ชนิดที่มีโปรตีนครบสมบูรณ์ โดยมีสัดส่วนของกรดแอมิโนที่สำคัญแปดชนิดอย่างสมดุล American Journal of Clinical Nutrition ระบุว่า “โปรตีนจากถั่วเหลืองสามารถเป็นแหล่งโปรตีนเพียงอย่างเดียวของมนุษย์ได้” เช่นเดียวกับโปรตีนจากพืชอื่น ๆ...

6 ข้อดีของถั่วเหลืองที่มีต่อสุขภาพ

http://www.malayalamlive.co/natural-ways-to-reduce-cholestrol/ สารต้านอนุมูลอิสระในถั่วเหลืองอาจช่วยป้องกันมะเร็งหลายชนิดรวมไปถึงป้องกันการแก่ชราก่อนวัยอันควรด้วย อาจช่วยชะลอ หรือป้องกันการเสื่อมของไตในผู้ที่ไตทำงานบกพร่อง ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลในเลือด ช่วยรักษาความหนาแน่นของมวลกระดูก และป้องกันภาวะกระดูกพรุน ช่วยลดความดันโลหิตในหญิงวัยหมดประจำเดือน อาจบรรเทาอาการร้อนวูบวาบในวัยทองได้ http://agriculturewire.com/soybean-futures-edge-higher-on-lower-production/

อาหาร และผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง ทางเลือกในการบริโภค?

http://proseeds.ca/top-3-reasons-consumers-love-soybean-products/ เมล็ดถั่วเหลือง มีทั้งแบบทอดกรอบ และแบบอบแห้ง มักมีการเติมเกลือหรือปรุงรสเพิ่ม จัดเป็นแหล่งของโปรตีน เส้นใยอาหาร และไอโซฟลาโวนที่ยอดเยี่ยม แต่อย่างไรก็ตามไม่ควรลืมว่าเมล็ดถั่วเหลืองก็ไม่ต่างจากถั่วอื่น ๆ ที่มีไขมันสูงและแคลอรีสูง http://farmfutures.com/story-weekly-soybean-review-0-30767 ถั่วเพาะงอก เกิดจากเมล็ดถั่วเหลืองที่ถูกนำมาเพาะเป็นเวลาประมาณ 6 วัน เป็นแหล่งของโปรตีน และเส้นใยอาหารที่ดี สามารถเติมลงในอาหารจานผักได้ง่าย http://www.everydayjuicer.com/soybean-sprouts/ ถั่งเหลืองฝักอ่อน และยอดอ่อนสด เป็นฝัก หรือต้นอ่อนของถั่วเหลืองต่างจากถั่วเหลืองเมล็ดแห้ง คือ นำมารับประทานตั้งแต่เป็นต้นอ่อนโดยการนึ่งอย่างเดียวกับผักสด เป็นแหล่งโปรตีน เส้นใยอาหาร และไอโซฟลาโวนที่ดี อาหารว่างซึ่งเป็นที่นิยมของญี่ปุ่นนั้นเอง...

วิตามินมีกี่รูปแบบ?

http://www.artesanias-minerales.com/what-is-vitamin/ แหล่งที่มาของวิตามิน วิตามินเป็นสารธรรมชาติที่พบได้ในอาหาร หรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่เรารับประทาน มีทั้งรูปแบบแคปซูล เม็ดอัด ผง หรือน้ำ หรือมาจากการทำอาหาร ถึงแม้ว่าเราสังเคราะห์วิตามินได้หลายตัว แต่ส่วนใหญ่แล้วจะใช้วิธีสกัดจากธรรมชาติมากกว่า เช่น วิตามินเอที่สกัดมาจากน้ำมันตับปลา วิตามินบีรวมที่สกัดจากตับ หรือยีสต์ วิตามินซีที่ดีที่สุดสกัดมาจากโรสฮิป ซึ่งเป็นเบอร์รี่ที่พบในผลของกุหลาบชนิดหนึ่ง พบได้หลังจากที่กลีบร่วงโรยแล้ว และวิตามินอีที่ส่วนใหญ่สกัดจากถั่วเหลือง จมูกข้าวสาลี หรือข้าวโพด http://sailorsaturn.tk/hudor/vitamin-a-pill-cenu.php รูปแบบต่างๆ ของวิตามิน ความต้องการของคนเราแตกต่างกันไป ด้วยเหตุผลนี้ทำให้วิตามินมีหลายรูปแบบ เช่น เม็ดอัด เป็นรูปแบบที่เจอบ่อยและสะดวกที่สุด...

กรดแพนโทเธนิค คืออะไรนะ??

http://advanced-med.com/bioidentical-hormones/ วิตามินบี 5 หรือกรดแพนโทเธนิค (Pantothenic Acid) ไม่ค่อยคงทน ถูกทำลายได้ง่ายโดยความร้อน กรด เช่น น้ำส้ม และด่าง เช่น โซดาสำหรับทำขนม (Baking Soda) วิตามินบี 5 ในเนื้อสัตว์จะสูญหายไปขณะหุงต้มประมาณ 33% และในแป้งจะสูญหายไปประมาณ 50% ขณะขัดสี และบดเป็นแป้ง การได้รับประมาณวันละ 4–7 มก.ก็เพียงพอแล้วสำหรับคนส่วนใหญ่ ประโยชน์ต่อร่างกาย...

ทอรีน (Taurine) ดีอย่างไรต่อร่างกาย?

http://www.livestrong.com/article/499267-eggs-a-natural-source-of-taurine/ ร่างกายสามารถสังเคราะห์ได้ กรดแอมิโนไม่จำเป็นตัวนี้เป็นโครงสร้างของกรดแอมิโนตัวอื่น ๆ ทั้งหมด ทอรีนพบได้มากในเนื้อเยื่อหัวใจ กล้ามเนื้อลาย และระบบประสาทส่วนกลาง ร่างกายจำเป็นต้องใช้ในการย่อยไขมัน การดูดซึมวิตามินที่ละลายในไขมัน และในการควบคุมระดับคอเลสเตอรอลในเลือด แถมยังทำหน้าที่ปกป้องสมองของเราอีกด้วย กรดแอมิโนนี้ดีต่อร่างกายอย่างไร ช่วยให้หัวใจทำงานได้แข็งแรงขึ้น ส่งเสริมการมองเห็นและป้องกันศูนย์กลางจอประสาทตาเสื่อม ช่วยในการรักษาโรควิตกกังวลและโรคลมชัก แหล่งจากธรรมชาติของทอรีน ไข่ ปลา เนื้อสัตว์ นม http://autism.lovetoknow.com/Autism_and_Low_Taurine ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ทอรีนมีจำหน่ายในรูปแคปซูลขนาด 500 มก. รับประทานได้วันละสามเวลา พร้อมน้ำเปล่าหรือน้ำผลไม้...

(Copper) ข้อดีของทองแดงต่อร่างกาย

http://www.medicalnewstoday.com/articles/288165.php ร่างกายต้องการเพื่อใช้ในการเปลี่ยนธาตุเหล็กให้เป็นเฮโมโกลบิน(เฮโมโกลบินคือส่วนประกอบของเมล็ดเลือดแดง มีความสำคัญในการนำพาออกซิเจนไปยังเซลล์) สามารถเข้าสู่กระแสเลือดเลือดได้ภายในสิบห้านาทีหลังจากรับประทาน จำเป็นต้องใช้ประกอบในการนำวิตามินซีไปใช้ ไม่มีขนาดที่แนะนำในการรับประทานต่อวันที่กำหนดโดยสถาบันวิจัยแห่งชาติสหรัฐอเมริกา แต่ในปัจจุบันแนะนำให้รับประทานได้ 1.5–3 มก.สำหรับผู้ใหญ่ ข้อดีของทองแดง ช่วยเพิ่มพลังงาน โดยการช่วยให้ร่างกายดูดซึมธาตุเหล็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ โรคจากการขาดแร่ธาตุ โลหิตจาง บวม โรคกระดูก และอาจเกี่ยวข้องกับโรคข้ออักเสบ รูมาทอยด์ http://www.fullcirclehealthcareinc.com/anemia.html แหล่งจากธรรมชาติ ถั่วเมล็ดแห้งต่าง ๆ ถั่วลันเตา โฮลวีต ลูกพรุน เครื่องในสัตว์ กุ้ง และอาหารทะเลส่วนใหญ่...

คาร์โบไฮเดรตปีศาจร้ายในความเข้าใจผิดของคนอยากผอม!!!

http://www.healthornutrition.com/fat-loss-foods-complete-guide/ คาร์โบไฮเดรต หรืออาหารประเภทแป้ง ปีศาจร้ายในความเข้าใจผิดของคนอยากผอม เป็นสารอาหารหลักที่ให้พลังงานกับร่างกาย แป้ง และน้ำตาลอาหารหลักในกลุ่มคาร์โบไฮเดรตจะถูกย่อยกลายเป็นกลูโคส หรือน้ำตาลในเลือด ซึ่งจะให้พลังงานที่จำเป็นอย่างยิ่งยวดต่อสมอง และระบบประสาทส่วนกลาง http://healthy-ojas.com/diabetes/carbohydrate-metabolism.html หากคุณต้องการคาร์โบไฮเดรตในอาหารทุกวัน เพื่อไม่ให้โปรตีนที่มีหน้าที่สร้างเนื้อเยื่อต้องถูกนำมาใช้อย่างสูญเปล่าเพื่อสร้างพลังงาน แทนมี่จะได้ไปทำหน้าที่ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ หากคุณรับประทานคาร์โบไฮเดรตมากเกินกว่าที่จะถูกเปลี่ยนเป็นกลูโคล หรือ ไกลโคเจน (ซึ่งจะถูกเก็บไว้ที่ตับและกล้ามเนื้อ) เป็นที่ทราบกันดีว่ามันจะถูกเปลี่ยนเป็นไขมัน เมื่อร่างกายต้องการเชื้อเพลิงในการขับเคลื่อน ไขมันก็จะถูกเปลี่ยนกลับเป็นกลูโคส และคุณก็จะมีน้ำหนักตัวที่ลดลง http://www.nutritionsecrets.com/health-benefits-of-forbidden-black-rice/ อย่ารับประทานคาร์โบไฮเดรตน้อยเกินไปนัก มันสำคัญต่อสุขภาพที่ดีพอกับสารอาหารอื่น ๆ และหากเทียบน้ำหนักกรัมต่อกรัมแล้ว มันก็ให้พลังงาน...

ดัชนีไกลซีมิก Glycemic Index (GI) ดัชนีวัดค่าคาร์โบไฮเดรต!!

http://blog.fooducate.com/2013/07/26/four-myths-about-the-glycemic-index/ เมื่อพูดถึงการจัดอันดับโดยหน่วยวัดที่เรียกว่า “ดัชนีไกลซีมิก” ซึ่งเป็นการคำนวณว่าน้ำตาลในเลือดจะสูง และเร็วเพียงใดหลังจากที่รับประทานอาหารแต่ละชนิดเข้าไป อาหารที่มีดัชนีไกลซีมิกสูงจะมีคาร์โบไฮเดรตสูง (น้ำตาลและแป้งสูง) และส่งผลให้น้ำตาลกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือดอย่างรวดเร็ว กลูโคสไม่ได้ผิดอะไร (มันเป็นดั่งเชื้อเพลิงที่ทุกเซลล์ในร่างกายต้องการใช้) แต่ในการจัดการกับกลูโคส ตับอ่อนต้องสร้างอินซูลินขึ้นมา ยิ่งคุณรับประทานอาหารที่มีไกลซีมิกสูง ตับอ่อนต้องทำงานหนักมากขึ้น และหากมันต้องทำงานหนักเกินไป บ่อยเกินไป มันก็อาจหมดแรงและส่งผลให้เกิดภาวะเบาหวานตามมาได้ http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/hormone/chapter3/insulin_hormone.htm ยิ่งไปกว่านั้น คือ อาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตที่มีไกลซีมิกสูงยังทำให้น้ำตาลในเลือดสูงขึ้น และอินซูลินก็จะสูงขึ้นตาม อินซูลินที่สูงนี้จะไปเปลี่ยนน้ำตาลส่วนเกินให้กลายเป็นไขมัน และนี่คือเหตุผลว่า ทำไมอาหารไขมันต่ำ หรืออาหารไร้ไขมันยังคงทำให้คนยังมีไขมัน http://www.tuvayanon.net/I-ep6-001001A-570909-1335.html ดัชนีไกลซีมิกให้คะแนนอาหารโดยประเมินว่า...

สาระน่ารู้เกี่ยวกับ “คอเลสเตอรอล” (Cholesterol)

http://women.thaiza.com/กำจัดไตรกลีเซอไรด์ส่วนเกิน/265573/ ไขมันคนทั่วไปมักเข้าใจผิดว่าไขมันทุกชนิดไม่ดีต่อร่างกาย ซึ่งไม่ใช่ความจริงแต่น้อย และไขมันตัวที่ถูกเข้าใจผิดมาเสมอก็ คือ คอเลสเตอรอล ทุกคนทราบกันดีว่าคอเลสเตอรอลเป็นสาเหตุของโรคผนังหลอดเลือดแดง โรคหัวใจ และโรคต่าง ๆ มากมาย แต่น้อยคนที่ทราบว่าคอเลสเตอรอลจำเป็นต่อร่างกายเรา อย่างน้อยสองในสามของคอเลสเตอรอลในร่างกายถูกสร้างจากตับ หรือลำไส้ใหญ่ ทั้งยังพบในสมอง ต่อมหมวกไต และเยื่อหุ้มเส้นประสาท และเมื่อพูดถึงแง่ดีแล้วก็พบว่ามีมากเช่นกัน http://www.medical.unon.org/what-is-cholesterol แง่ดีของคอเรสเตอรอล คอเลสเตอรอลที่ผิวหนังจะถูกเปลี่ยนเป็นวิตามินที่มีประโยชน์กับร่างกาย เมื่อได้รับการกระตุ้นจากรังสียูวีในแสงแดด คอเลสเตอรอลมีส่วนช่วยในกระบวนการเผาผลาญอาหารในกลุ่มแป้ง หรือคาร์โบไฮเดรต (ยิ่งรับประทานแป้งมาก ร่างกายก็จะสร้างคอเลสเตอรอลมากขึ้น) คอเลสเตอรอลเป็นวัตถุดิบหลักในการสร้างฮอร์โมนกลุ่มสเตียรอยด์จากต่อมหมวกไต ซึ่งมีความสำคัญ...