ยาและสุขภาพ

สาระน่ารู้เกี่ยวกับยา การใช้ยา ความงาม และการดูแลสุขภาพ

อันตรายจากการแพ้ยา

อันตรายจากการแพ้ยา การแพ้ยา คือการที่ภูมิคุ้มกันของร่างกายเราต่อต้านตัวยาที่รับเข้าไป แล้วแสดงออกมาเป็นอาการผิดปกติต่างๆ เช่น มีผื่นขึ้นตามผิวหนัง หน้าบวม ตาบวม หรือแน่นหน้าอกหายใจติดขัด ซึ่งอาการเหล่านี้มีตั้งแต่ระดับเบาไปจนถึงรุนแรงและเป็นอันตรายถึงชีวิต ยาชนิดไหนมักทำให้เกิดการแพ้ ยาปฏิชีวนะ หรือยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย เช่น ยากลุ่มเพนนิซิลลิน (Penicillin) เช่น Penicillin V, Amoxicillin และยากลุ่มซัลโฟนาไมด์ (Sulfonamides) เช่น Sulfasalazine, Glipizide, Glibenclamide, Celecoxib ยาแอสไพริน...

FAQ : คำถามเกี่ยวกับโครงการ “ดีแทคใจดีช่วยค่ายา”

เริ่มแล้วนะคะกับโครงการ "dtac ใจดี ช่วยค่ายา" ที่ทาง Arincare ร่วมกับ dtac และ Sunday เพื่อให้ลูกค้าผู้ใช้งาน dtac ทั้ง 19 ล้านเลขหมาย ได้เข้าถึงร้านขายยามาตรฐานทั่วประเทศและได้รับสิทธิประโยชน์จาก dtac ช่วยจ่ายค่ายาให้ค่ะ ในบทความนี้เรามาตอบคำถามเกี่ยวกับโครงการกันเพื่อให้ทราบข้อมูลในรายละเอียดมากขึ้นนะคะ =) [caption id="attachment_2527" align="aligncenter" width="600"] โครงการ dtac ใจดีช่วยค่ายา[/caption] FAQ...

โครงการร้านยาร่วมใจสู้ภัย COVID19 ผนึกกำลังลดความเสี่ยงให้บุคลากรทางการแพทย์ด้วยการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้านผ่าน e-Prescription

[16 มีนาคม 2563] ในวันนี้ประเทศไทยของเรากำลังเผชิญภัยร้ายจากการระบาดไวรัส COVID19 ทางทีมงาน Arincare และร้านขายยาในเครือข่ายทั่วประเทศจึงขอร่วมผนึกกำลังช่วยเป็นส่วนหนึ่งในการยับยั้งการแพร่ระบาดของไวรัสในโครงการ "ร้านยาร่วมใจสู้ภัย COVID19 ผนึกกำลังลดความเสี่ยงให้บุคลากรทางการแพทย์ด้วยการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้านผ่าน e-Prescription" ค่ะ :) (more…)

FAQ – โครงการ ร้านยาร่วมใจสู้ภัย COVID19 #PharmaFightsCovid

โครงการ “ร้านยาร่วมใจสู้ภัย COVID19 ผนึกกำลังลดความเสี่ยงให้บุคลากรทางการแพทย์ด้วยการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้านผ่าน e-Prescription“ #pharmaFightsCovid  FAQ Q: เป้าหมายของโครงการนี้คืออะไร? ลดความเสี่ยงในการติดเชื้อและการแพร่กระจายของไวรัส COVID19 ในกลุ่มคนไข้และบุคลากรทางการแพทย์ในสถานพยาบาลต่างๆ เช่นโรงพยาบาล ซึ่งเป็นสถานที่ซึ่งรองรับทั้งผู้ป่วยปกติ ผู้ป่วยฉุกเฉิน และผู้ป่วยที่ติดไวรัส COVID19 Q: โครงการนี้ช่วยลดความเสี่ยงในการติดเชื้อและการแพร่กระจายของไวรัส COVID19 ได้อย่างไร ไวรัสจะแพร่กระจายได้รวดเร็วในอากาศในพื้นที่ที่มีผู้คนแออัด โครงการนี้สามารถลดความเสี่ยงได้โดยการช่วยให้คนไข้กลุ่มโรคเรื้อรังแต่ไม่ติดต่อ (NCD) และกลุ่มโรคทั่วไป (GP) ไม่จำเป็นต้องรอรับยาที่โรงพยาบาล หรือไม่ต้องเดินทางไปโรงพยาบาลเพื่อ refill เติมยา...

โรคอุจจาระร่วง อย่ามองข้าม อาจอันตรายถึงชีวิต!

ช่วงนี้หน้าฝนแล้ว หนึ่งในโรคสุดฮิตที่มากับฝนนั่นก็คือ “โรคอุจจาระร่วง” หรือท้องเสีย นั่นเอง ซึ่งโรคนี้ก็คือภาวะการถ่ายอุจจาระเหลวติดต่อกันตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไปใน 1 วัน หลายๆ คนอาจจะละเลยเพราะคิดว่าอาการไม่ผิดปกติมาก แค่ท้องเสียธรรมดา แต่โรคนี้หากละเลยไม่ดูแลให้ดี อาจเกิดอาการแทรกซ้อนถึงชีวิตได้ สาเหตุของโรคอุจจาระร่วงนั้น ส่วนใหญ่มาจากการรับประทานอาหารและน้ำเป็นหลัก ซึ่งเกิดจากการปนเปื้อนของอาหารจากไวรัส แบคทีเรีย ปรสิต โปรโตซัว จากอาหารปรุงไม่สุก ปรุงสุกแต่เก็บรักษาไม่ดี ไม่ล้างมือก่อนการเตรียมหรือปรุงอาหาร ภาชนะที่ใช้มีเชื้อโรค หรืออาจจะเป็นจากสาเหตุอื่นๆ เช่น อาหารบางอย่างที่ร่างกายไม่ย่อย...

ยาแก้ปวดมีกี่ชนิด อะไรบ้าง ใช้อย่างไรให้เหมาะสม?

ยาแก้ปวด นับเป็นยาสามัญประจำบ้านที่เรียกได้ว่า แทบทุกบ้านต้องมีติดไว้ เพราะสามารถออกฤทธิ์ระงับความเจ็บปวดได้หลากหลายและรวดเร็ว แต่รู้หรือไม่ว่า ยาประเภทระงับความปวด (Painkiller/Analgesic) มีแบ่งได้ถึง 4 กลุ่มง่ายๆ ทั้งแบบที่เป็นสามัญประจำบ้าน และแบบที่แพทย์ต้องสั่งจ่าย 1. กลุ่มพาราเซตามอล และแอสไพริน กลุ่มยาพาราเซตามอล (อะเซตามิโนเฟน) ระงับอาการปวดโดยการขัดขวางกระบวนการเปลี่ยนกรดอะราคิโนติก เป็น โพรสตาแกลนดิน ซึ่งส่งผลให้ อาการปวด ไข้ และบวม ลดลง เป็นยาที่ปลอดภัย ใช้ระงับอาการปวดอ่อนๆ ได้ดี...

ARINCARE เปิดตัวระบบใบสั่งยาอิเล็กทรอนิกส์ e-Prescription เต็มรูปแบบครั้งแรกในประเทศไทย ลดความเหลื่อมล้ำด้านบริการสุขภาพ ให้คนไทยเข้าถึงยาได้ถูกลง

กรุงเทพฯ 21 กรกฎาคม 2562: Arincare (อรินแคร์) ร่วมกับ เภสัชกรรมสมาคมแห่งประเทศไทย สมาคมเภสัชกรรมการตลาด สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) และธนาคารไทยพาณิชย์ เปิดพื้นที่กิจกรรมเพื่อชาวร้านยา กับการประชุมวิชาการ “Thailand Pharmacy Summit 2019” ภายใต้หัวข้อ “Pharmacy in age of disruption” งานสัมมนาด้านเภสัชกรรมและอุตสาหกรรมยายุคใหม่ที่ทันสมัยที่สุดประจําปี 2562 ภายในงาน Arincare...

หวัด, ยาฆ่าเชื้อ

ขอซื้อยาฆ่าเชื้อเพื่อใช้แก้หวัด

เดิมทีผมไม่ค่อยจะรับตอบคำถามเรื่องยาและสุขภาพผ่านทาง social media ครับ ด้วยเหตุผลส่วนตัวว่าถ้าจะให้คำปรึกษาอยากเห็นหน้าค่าตาอยากพูดอยากถาม มากกว่าที่จะพิมพ์เล่าข้อความเป็นตัวอักษร อยากฟัง อยากดู และอยากให้คนไข้ไปพบกับหมอกับเภสัชกรใกล้ๆตัวเพราะจะได้มีโอกาสพูดคุยซักถามในเชิงลึกได้มากกว่า แต่หลายครั้งเหมือนกัน ที่มีคำถามจากเพื่อน จากคนไข้ใกล้ตัว ถามซ้ำๆ ย้ำๆ กลับมาในเรื่องเดิมๆ ปัญหาเดิมๆ ทำให้คิดว่า ถ้าได้มีโอกาสเอาตัวอย่างเรื่องพวกนี้มาเล่าบ้าง ก็อาจจะเป็นประโยชน์กับหลายๆ ท่านที่มีปัญหาเดียวกัน อีกทั้งจึงขอเล่าเป็นเรื่องๆ ที่พอจะได้พบประสบมาอยู่บ้างครับ ช่วงนี้เข้าหน้าฝนอย่างเต็มรูปแบบแล้ว ซึ่งในร้านยาเองก็พบคนไข้ป่วยเป็นไข้หวัดกันเป็นว่าเล่น จึงขอใช้พื้นที่ตรงนี้เล่าประสบการณ์การให้บริการสำหรับคนไข้ป่วยด้วยโรค "ไข้หวัด" ธรรมด้า ธรรมดา...

โรคอาหารเป็นพิษ (โรคป่วง)

โรคป่วง หากพูดไปแล้วน้อยคนที่จะรู้จัก นอกจากจะอายุมากเสียหน่อย แต่หากพูดว่า “โรคอาหารเป็นพิษ” เชื่อว่าหลายคนคงรู้จักดี โรคนี้ คือโรคที่เกิดกับระบบทางเดินอาหาร เป็นภาวะที่ร่างกายแสลงอาหาร แม้ว่าโรคนี้จะไม่เป็นโรคติดต่อ แต่หากเป็นมากๆ ก็สามารถเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ ในอดีต โรคป่วงก็ได้คร่าชีวิตคนไปมากมาย เช่นกัน สาเหตุ : โรคนี้เกิดจากการที่ทานอาหารที่ไม่ถูกกับร่างกาย แสลงต่อร่างกาย หรืออาหารที่เป็นพิษ ซึ่งเกิดจากเชื้อโรคที่ปล่อยสารพิษออกมาปนเปื้อนกับอาหารต่างๆ สารพิษเหล่านี้ บางชนิดก็ทนทานต่อความร้อน แม้ปรุงสุกแล้วก็ยังก่อให้เกิดโรคได้ เมื่อทานเข้าไป ร่างกายก็จะพยายามขับออก เกิดเป็นอาการแสลง อาการ...

สรุปข่าววงการยา เมษายน 2562

สรุปข่าววงการยา เมษายน 2562

สรุปข่าววงการยา เมษายน 2562 ข่าว ประกาศให้ร้านขายยาแผนปัจจุบัน (ขย.1) เป็นสถานบริการสาธารณสุข ตาม พรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อ่านเพิ่มเติม : https://blog.arincare.com/2019/04/22/pharmacy-as-healthservice/ พ.ร.บ.ยา 2562 ประกาศแล้วในราชกิจจานุเบกษา บังคับใช้ภายใน 180 วัน อ่านเพิ่มเติม https://blog.arincare.com/2019/04/22/drug-act-2562/) อย.อนุมัติ ชุดตรวจ HIV ด้วยตนเอง ทำให้สามารถหาซื้อชุดตรวจที่ร้านขายยาได้ อ่านเพิ่มเติม ข่าว http://bit.ly/2vicCbK...