บทความและสาระน่ารู้ดีๆ จากทีมงาน Arincare

ทำความรู้จักกับ “โฟเลต”

(Folic acid) (กรดโฟลิก, โฟลาซิน) http://www.mensfitness.com/nutrition/supplements/folic-acid โฟเลต คืออะไร และมีความสำคัญอย่างไร? ละลายในน้ำ เป็นหนึ่งในตระกูลวิตามินบีรวม รู้จักกันทั้งในชื่อ วิตามินบีซี (Bc) หรือวิตามินเอ็ม มีหน่วยวัดเป็นไมโครกรัม (มคก.) มีความสำคัญในการสร้างเม็ดเลือดแดง ช่วยในการเผาผลาญโปรตีน มีส่วนสำคัญในการสร้างกรดนิวคลีอิก (กรดไรโบนิวคลีอิก และกรดดีออกซิไรโบนิวคลีอิก) โฟเลตมีความจำเป็นต่อการแบ่งตัวเซลล์ ร่างกายต้องการในกระบวนการใช้น้ำตาล และกรดแอมิโน โฟเลตถูกทำลายได้ง่ายหากเก็บด้วยวิธีที่ไม่เหมาะสมในอุณหภูมิห้องเป็นเวลานานเกินไป ขนาดที่แนะนำ http://www.health.harvard.edu/blog/folic-acid-a-b-vitamin-lowers-stroke-risk-in-people-with-high-blood-pressure-201503187810 ขนาดที่แนะนำต่อวันคือ...

8 คำแนะนำ เกี่ยวกับ “โฟเลต” (Folic Acid)

http://naturalsociety.com/u-k-advisers-folic-acid-added-flour/ 1. คุณผู้หญิงควรรับประทานกรดโฟลิก และวิตามินบี 6 ให้เพียงพอ กรดโฟลิก 400 มคก. และวิตามินบี 6 เพียง 2–10 มก. สามารถลดความเสี่ยงของโรคหัวใจวายเฉียบพลันได้ร้อยละ 42 2. ผู้ที่ดื่มสุราเป็นประจำควรรับประทานกรดโฟลิกเพิ่มขึ้น http://www.thecandidadiet.com/vitamin-c.htm 3. ผู้ที่ทานวิตามินซีสูง เกินวันละ 2 กรัมต่อวัน ควรรับประทานกรดโฟลิกเพิ่มด้วย เนื่องจากวิตามินซีเพิ่มการขับกรดโฟลิกออกจากร่างกาย 4. หากคุณรับประทานยากันชักไดแลนติน...

วิตามินบี3 หรือ ไนอะซิน มีประโยชน์ต่อร่างกายเราอย่างไร?

http://siampill.com/th/information/news.html?news_id=38 วิตามินบี, 3ไนอะซินาไมด์, กรดนิโคตินิก, นิโคตินาไมด์ เป็นวิตามินที่ละลายในน้ำ และเป็นหนึ่งในสมาชิกของครบครัวบีรวม มีหน่วยวัดเป็นมิลลิกรัม (มก.) ร่างกายสามารถสร้างไนอะซินขึ้นเองได้โดยใช้กรดแอมิโนทริปโตแฟน ผู้ที่ร่างกายขาดวิตามินบี1 บี2 และบี6 จะไม่สามารถสร้างไนอะซินจากทริปโตแฟนได้ การขาดไนอะซินส่งผลให้บุคลิกภาพเปลี่ยนไปในทางที่แย่ลงได้ ปริมาณที่แนะนำต่อวัน อยู่ที่ 13–19 มก.สำหรับผู้ใหญ่ ส่วนสตรีให้นมบุตร ขนาดแนะนำคือ 20 มก. ไนอะซินมีส่วนสำคัญในการสังเคราะห์ฮอร์โมนเพศ (เอสโทรเจน โพรเจสเทอโรน เทสทอสเทอโรน) เช่นเดียวกับคอร์ติโซน ไทรอกซิน...

วิตามินบี3 หรือ ไนอะซิน บริโภคอย่างไรจึงเหมาะสม?

http://www.evitamins.com/encyclopedia/assets/nutritional-supplement/vitamin-b-complex/~default ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร มีวางจำหน่ายในรูปของไนอะซิน อินอซิทอลเฮกซานิโคติเนต (IHN) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “ไนอะซินแบบไม่ร้อนวูบวาบ” และไนอะซินาไมด์ (คุณสามารถลดอาการวูบวาบได้โดยการรับประทานในขณะที่มีอาหารอยู่ในกระเพาะ) มีทั้งแบบที่เป็นอัด แคปซูล และผง ในขนาด 50–1,000 มก. วิตามินบีรวม และวิตามินรวมอย่างดี มักมีไนอะซินรวมอยู่ด้วย 50–500 มก. (ดูที่ฉลาก) อาการเป็นพิษและสัญญาณเตือนว่ารับประทานมากเกินไป ไนอะซินปริมาณมากจะมีผลต่อการควบคุมระดับกรดยูริกในร่างกาย อาจทำให้ผู้ที่มีแนวโน้มเป็นโรคเกาต์มีอาการปวดข้อขึ้นได้ http://www.thaihealth.or.th/Content/24621-%60ความน่ากลัวของโรคเกาต์%60%20(ตอน%201).html ระดับไนอะซินในร่างกายที่สูงยังส่งผลต่อการควบคุมน้ำตาลในร่างกาย อาจทำให้ผู้ที่มีแนวโน้มเป็นโรคเบาหวานมีปัญหาเรื่องการควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ หรือส่งผลให้อาการของโรคแสดงออกชัดเจน...

ไลซีน (Lysine) กรดอะมิโนนี้ สำคัญอย่างไร?

http://www.stylecraze.com/articles/best-lysine-rich-foods/ กรดอะมิโนจำเป็นสำคัญอย่างยิ่งในการสร้างโปรตีนที่สำคัญต่อร่างกาย ร่างกายต้องการกรดอะมิโนนี้เพื่อการเจริญเติบโต การซ่อมแซมเนื้อเยื่อ และการสร้างสารภูมิต้านทาน ฮอร์โมน รวมถึงเอนไซม์ต่าง ๆ ข้อดีของไลซีน http://asianetindia.com/continue-these-for-a-good-health/ ช่วยลดความถี่ในการเกิด และป้องกันการเกิดโรคเริม ช่วยให้สมาธิดีขึ้น ช่วยให้น้ำในร่างกายนำกรดไขมันมาใช้เผาผลาญเป็นพลังงาน ช่วยในการดูดซึมแคลเซียม ช่วยในการป้องกัน และรักษาโรคกระดูดพรุน ช่วยบรรเทาปัญหาด้านการสืบพันธุ์บางประการ แหล่งธรรมชาติของไลซีน ปลา นม ถั่วลิมา เนื่อสัตว์ ชีส ยีสต์ ไข่ ผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง อาหารที่มีโปรตีนสูง...

ไอโอดีน รับประทานอย่างไรให้พอดี?

http://www.sureviagra.com/iodine-a-great-health-assistance.html https://www.organicfacts.net/health-benefits/minerals/health-benefits-of-iodine.html ไอโอดีน สำคัญอย่างไร? สองในสามของไอโอดีนในร่างกายอยู่ในต่อมไทรอยด์ เนื่องจากต่อมไทรอยด์ควบคุมระบบเผาผลาญอาหารของร่างกาย และไอโอดีนก็มีอิทธิพลต่อการทำงานของต่อมไทรอยด์ ดังนั้น หากร่างกายมีไอโอดีนไม่เพียงพอจะส่งผลให้ความคิดความอ่านช้าลง น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น และขาดพลังงานในการใช้ชีวิต ประโยชน์ของไอโอดีน ช่วยควบคุมน้ำหนัก โดยการเผาผลาญไขมันส่วนเกิน ส่งเสริมการเจริญเติบโต เพิ่มพลังงาน เพิ่มความกระตือรือร้น ช่วยให้สุขภาพ ผิว ผม เล็บ และฟัน แข็งแรง http://www.femside.com/health/healthy-living/9-things-you-can-do-right-now-to-increase-your-energy-level/ ปริมาณรับประทานต่อวัน ขนาดแนะนำในการรับประทานต่อวันคือ 150 มคก.ในผู้ใหญ่ (1...

แคลเซียม (Calcium) บริโภคอย่างไรให้พอดี?

https://www.reference.com/health/can-adult-drink-much-milk-b3d0ef978543107 ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับแคลเซียม แคลเซียมเป็นแร่ธาตุที่มีมากที่สุดในร่างกาย แคลเซียม และฟอสฟอรัสทำงานร่วมกัน เพื่อให้กระดูกและฟันแข็งแรง แคลเซียม และแมกนีเซียมทำงานร่วมกัน เพื่อสุขภาพของหัวใจและเส้นเลือด แคลเซียมในร่างกายเกือบทั้งหมด 2–3 ปอนด์ สะสมอยู่ในกระดูก และฟัน ร่างกายต้องมีวิตามินเพียงพอ แคลเซียมจะถูกดูดซึมได้ ขนาดแนะนำแต่ละวันสำหรับผู้ใหญ่ 1,200 มก. สำหรับหญิงตั้งครรภ์ และให้นมบุตร 1,200–1,500 มก.และสำหรับผู้หญิงอายุเกิน 50 ปี และผู้ชายอายุเกิน 65 ปี...

แมกนีเซียม สำคัญอย่างไร และบริโภคเท่าไหร่จึงเหมาะสม?

http://www.newsmax.com/FastFeatures/magnesium-food-sources/2014/09/14/id/593363/ “แมกนีเซียม” มีความจำเป็นต่อระบบการเผาผลาญของแคลเซียม และวิตามินซี เช่นเดียวกับฟอสฟอรัส โซเดียม และโพแทสเซียม มีหน่วยวัดเป็นมิลลิกรัม มก. มีความจำเป็นต่อการทำงานของเส้นประสาท และกล้ามเนื้อ มีส่วนสำคัญในการเปลี่ยนน้ำตาลในเลือดให้เป็นพลังงาน และช่วยคลายความเครียดได้ด้วย ส่วนคนที่ดื่มสุราเป็นประจำมักจะขาดแมกนีเซียม ผู้ใหญ่ต้องการประมาณ 250–500 มก. ทุกวัน สำหรับหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร แนะนำ 300–355 มก. และร่างกายคนเรามีแมกนีเซียมอยู่ประมาณ 21 กรัม http://craventhecity.com/its-time-to-stop-the-gushing/ ข้อดีต่อร่างกายของแมกนีเซียม · ช่วยเผาผลาญไขมันและเปลี่ยนเป็นพลังงาน...

6 คำแนะนำ เกี่ยวกับ “แมกนีเซียม” (Magnesium)

http://www.mymagnesiumdeficiency.info/best-magnesium-supplement/ 1. หากคุณเป็นคนที่ดื่มสุราเป็นประจำ แนะนำให้ทานแมกนีเซียมให้มากขึ้น และหากการออกกำลังกายในแต่ละวันทำให้คุณอ่อนล้า คุณอาจจะต้องการแมกนีเซียมมากขึ้น 2. ผู้หญิงที่รับประทานยาคุมกำเนิดหรือฮอร์โมนเอสโทรเจนรูปแบบใดก็ตาม ควรรับประมาณอาหารที่มีแมกนีเซียมให้สูงมากขึ้น http://asianetindia.com/bad-effects-of-emergency-contraceptive-pills/ 3. หากคุณธัญพืชไม่ขัดสีถั่ว ผักสีเขียวเข้ม กล้วย เป็นประจำคุณอาจจะได้รับแมกนีเซียมมากพอแล้ว เช่นเดียวกับผู้ที่อาศัยอยู่บริเวณที่ใช้น้ำกระด้าง http://blog.diabetv.com/can-a-person-with-diabetes-eat-bananas/ 4. หากคุณเป็นโรคเบาหวานชนิดดื้อต่ออินซูลิน การรับประทานอาหารที่มีแมกนีเซียมสูงช่วยลดความดันโลหิตได้ ควรปรึกษาแพทย์ของคุณก่อนรับประทานแมกนีเซียมเสริม 5. แมกนีเซียมทำงานร่วมกับวิตามินเอ แคลเซียม ฟอสฟอรัสได้ดี และโดยตัวของแมกนีเซียมเองอาจทำให้ท้องร่วงได้ ดังนั้น ควรรับประทานร่วมกับแคลเซียม ในรูปแบบวิตามินรวม หรือในรูปแบบของแมกนีเซียมไกลซิเนต กลูโคเนต...

ทำความรู้จักกับ “แมงกานีส” แร่ธาตุที่มีประโยชน์หลากหลาย

https://authoritynutrition.com/does-meratrim-work/ แมงกานีส สำคัญอย่างไรต่อร่างกายเรา? แมงกานีสช่วยกระตุ้นเอนไซม์ที่จำเป็นต่อกระบวนการนำไบโอติน บี1 และวิตามินซี มาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย มีความจำเป็นต่อโครงสร้างของกระดูก มีหน่วยวัดเป็นมิลลิกรัม มก. มีความสำคัญต่อการสร้างไทรอกซิน ฮอร์โมนหลักของต่อมไทรอยด์ มีความสำคัญต่อกระบวนการย่อย และนำอาหารมาใช้ให้เป็นประโยชน มีความสำคัญต่อการทำงานของระบบสืบพันธุ์และระบบประสาท ไม่มีขนาดแนะนำให้รับประทานต่อวันอย่างเป็นทางการ แต่สถาบันวิจัยแห่งชาติสหรัฐอเมริกา แนะนำให้รับประทาน 2–5 มก. สำหรับผู้ใหญ่ทั่วไป http://blog.insidetracker.com/topic/calcium ข้อดีของแมงกานีส ช่วยลดอาการอ่อนล้า มีส่วนช่วยในกระบวนการตอบสนองของกล้ามเนื้อ ช่วยป้องกันโรคกระดูดพรุน ช่วยให้ความจำดีขึ้น ลดอาการหงุดหงิดง่าย...