HEALTHCARE

ไขมันอิ่มตัว vs ไขมันไม่อิ่มตัว คืออะไร?

http://www.newhealthadvisor.com/Difference-Between-Saturated-and-Unsaturated-Fats.html ไขมันอิ่มตัว (Saturated fat) มาจากอาหารในกลุ่มเนื้อสัตว์ (มีข้อยกเว้นสำหรับน้ำมันมะพร้าว น้ำมันปาล์ม น้ำมันพืชที่ผ่านกระบวนการเติมไฮโดรเจน) ไขมันจากสัตว์ทุกชนิดมีคอเลสเตอรอล ไขมันอิ่มตัวจะมีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง ไขมันไม่อิ่มตัว (Unsaturated fat) (แบ่งเป็นประเภทเชิงเดี่ยว และเชิงซ้อน) มาจากอาหารที่ได้จากพืช ไม่มีผักผลไม้ชนิดใดมีคอเลสเตอรอล ไขมันไม่อิ่มตัวจะมีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง ****ถึงแม้ว่าอาหารบางชนิดจะไม่มีคอเลสเตอรอล แต่ไม่ได้หมายความว่าอาหารนั้นจะไม่มีไขมัน เช่น อะโวคาโด เป็นอาหารที่ไม่มีคอเลสเตอรอลก็จริง แต่ปริมาณเพียงเล็กน้อยที่ใช้ทำกัวคาโมลี (ซอสที่ทำจากอะโวคาโด) ก็ให้ไขมันถึง 30 กรัมเลยทีเดียว http://www.everwell.com/diet_and_nutrition_claims/saturated_fat_heart_health.php

ระดับของคอเลสเตอรอล…สำคัญอย่างไรต่อร่างกาย?

http://www.midwestfamilyhealth.com/#!More-Options-for-Cholesterol-Control/c22ev/55d7787b0cf22dbd375a182a เมื่อพูดถึงระดับคอเลสเตอรอล เรามักจะหมายถึงระดับของคอเลสเตอรอลทั้งหมดในเลือด หรือ serum cholesterol ซึ่งมีหน่วยวัดเป็นมิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ค่าที่เหมาะสมสำหรับทุกคนคือ ไม่เกินกว่า 200 มก./ดล. อัตราส่วนของเอชดีแอล (คอเลสเตอรอลชนิดดี) ต่อแอลดีแอล (คอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี) มีความสำคัญเช่นเดียวกับอัตราส่วนของเอชดีแอลต่อคอเลสเตอรอลในเลือดทั้งหมด ยิ่งคุณมีเอชดีแอลมาก คุณก็ยิ่งมีเกราะคุ้มกันการอุดตันของเส้นเลือดแดงมากขึ้น http://www.rosewellness.com/cholesterol-control/ การตรวจวัดระดับคอเลสเตอรอลในเลือด มักรวมไปถึงการวัดระดับ ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) ซึ่งเป็นไขมันที่ต่างจากคอเลสเตอรอล แต่มีความเชื่อมโยงกันอยู่ คือ คุณอาจจะมีระดับไตรกลีเซอไรด์สูงโดยที่ระดับคอเลสเตอรอลต่ำ (หรือในทางกลับกัน)ก้ได้...

“กรดไขมันทรานส์” ผู้บริโภคต้องรู้…!!

http://www.healthcareaboveall.com/why-you-should-never-consume-margarine-again/ กรดไขมันทรานส์ คืออะไร? กรดไขมันทรานส์ (Trans-fatty acid) คือ ไขมันอิ่มตัวที่เติมไฮโดรเจนเข้าไป ทำให้มันเหนี่ยวพอที่จะนำมาใช้ในการทำขนมปัง ขนมอบ และมาร์การีน กรดไขมันทรานส์ยังช่วยให้อาหารสำเร็จรูปมีอายุยาวนาวขึ้น และบนฉลากอาหารผู้บริโภคจะพบในรายชื่อส่วนประกอบว่า “น้ำมันไฮโดรจีนเนต (hydrogenated oil)” กรดไขมันทรานส์พบได้มากในอาหารจำพวก คุ้กกี้ แครกเกอร์ ขนมขบเคี้ยว และอาหารฟาสต์ฟู้ด http://inhabitat.com/fda-orders-food-manufacturers-to-stop-using-trans-fats-by-2018/fast-food-trans-fats/ กรดไขมันทรานส์เป็นอันตรายต่อร่างกายได้อย่างไร? กรดไขมันทรานส์ในปริมาณที่น้อยนิดสามารถทำให้ระดับแอลดีแอล (คอเลสเตอรอลไม่ดี) สูงขึ้น ระดับเอชดีแอล (คอเลสเตอรอลดี) ลดลง และเพิ่มความเสี่ยงต่อการทำให้เป็นโรคเบาหวานอย่างมีนัยสำคัญ...

“ตัวกระตุ้นโกร๊ธฮอร์โมน” สำคัญอย่างไร และมีอะไรบ้าง?

http://genoxon.com/hgh-knowledge-base/everything-you-need-to-know-about-hgh ตัวกระตุ้นโกร๊ธฮอร์โมน คือ สารอาหารที่กระตุ้นการสร้างโกร๊ธฮอร์โมนในร่างกายได้ โกร๊ธฮอร์โมนจะถูกเก็บไว้ที่ต่อมใต้สมอง และถูกหลั่งออกมาในขณะที่เราหลับ ออกกำลังกาย และถูกจำกัดการรับประทานอาหาร https://mojomultiplier.com/category/fat-burning-hormones/growth-hormone-fat-burning-hormones/page/2/ ข้อดีของโกร๊ธฮอร์โมน ช่วยเผาผลาญไขมันและเปลี่ยนไขมันเป็นพลังงานกล้ามเนื้อ เพิ่มความต้านทานต่อการเกิดโรคต่าง ๆ เร่งให้แผลหายเร็วขึ้น ช่วยในการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ เพิ่มความแข็งแรงของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ส่งผลให้เส้นเอ็นที่ยึดกล้ามเนื้อและกระดูกแข็งแรงขึ้น เพิ่มการสังเคราะห์โปรตีนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างกล้ามเนื้อ ลดปริมาณยูเรียในเลือดและปัสสาวะ ตัวกระตุ้นโกร๊ธฮอร์โมนมีอะไรบ้าง? http://genoxon.com/hgh-knowledge-base/everything-you-need-to-know-about-hgh ตัวกระตุ้นโกร๊ธฮอร์โมนที่สำคัญได้แก่ กรดแอมิโนออร์นิทีน อาร์จีนีน ทริปโตแฟน กลูตามีน ไกลซีน แลพไทโรซีน โดยกรดแอมิโนเหล่านี้จะทำงานเสริมกัน...

4 ข้อดี ของ “โครเมียม” และสำคัญต่อร่างกายเราอย่างไร?

https://www.healthambition.com/chromium-benefits-food-sources-best-chromium-supplement/ ทำงานร่วมกับอินซูลินในกระบวนการเผาผลาญน้ำตาล ช่วยนำโปรตีนไปยังส่วนที่ต้องการใช้ ยังไม่มีขนาดที่แนะนำให้รับประทานต่อวันอย่างเป็นทางการ แต่โดยทั่วไปในผู้ใหญ่แนะนำให้รับประทาน 50–200 มคก. เมื่ออายุมากขึ้นร่างกายของคุณจะเก็บโครเมียมได้น้อยลง ข้อดีของโครเมียม ช่วยในการเจริญเติบโต ช่วยป้องกันความดันโลหิตสูงและลดความดันโลหิต ทำงานเป็นเกาะป้องกันโรคเบาหวาน ช่วยป้องกันอาการขาดน้ำตาล และอ่อนล้าจนหมดแรงเฉียบพลัน โรคจากการขาดโครเมียม การขาดโครเมียมเป็นหนึ่งในปัจจัยที่อาจเกี่ยวข้องกับโรคผนังเส้นเลือดแข็งตัว และเบาหวาน http://www.myinsuranceclub.com/guides/diabetes-mellitus-diabetes แหล่งธรรมชาติของโครเมียม ตับลูกวัว จมูกข้าวสาลี บริวเวอร์ยีสต์ ไก่ น้ำมันข้าวโพด หอยกาบ http://www.natmedtalk.com/wiki/File:Chromium-foods.jpg ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร อาจพบรวมอยู่ในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประเภทแร่ธาตุรวมคุณภาพสูง...

ประโยชน์ของ “โซเดียม” และร่างกายควรรับเท่าไหร่ดี…??

http://www.essential-vitamins-minerals.com/low-sodium-foods/ โซเดียม (sodium) และโพแทสเซียมถูกค้นพบพร้อม ๆ กัน ต่างก็มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตเช่นกัน หากคุณมีความดันโลหิตที่สูง พยายามลดโซเดียมให้น้อยลง โดยการอ่านฉลากอาหารก่อนที่คุณจะซื้อ มองหาคำว่า เกลือ (Salt) หรือโซเดียม (Sodium) ตัวย่อทางเคมีคือ Na http://fca.com/too-much-sodium-master-label-lingo-to-shake-the-salt-habit-now/ ประโยชน์ของโซเดียม 1. โซเดียมช่วยให้แคลเซียมและแร่ธาตุอื่น ๆ ละลายในเลือดได้ 2. โซเดียมช่วยป้องกันอาการอ่อนเพลียจากความร้อนหรือการเป็นลมแดด 3. ช่วยให้เส้นประสาทและกล้ามเนื้อทำงานได้ปกติ ทานปริมาณเท่าไหร่ดี? ไม่มีขนาดที่แนะนำให้รับประทานแต่สถาบันแห่งชาติสหรัฐอเมริกา ประมาณการว่า...

สาระเกี่ยวกับ “โพแทสเซียม” (Potassium)

มีความสำคัญอย่างไร? บริโภคอย่างไรจึงเหมาะสม? http://www.building-muscle101.com/benefit-of-potassium.html โพแทสเซียม สำคัญอย่างไร? โพแทสเซียมทำงานร่วมกับโซเดียมในการควบคุมสมดุลของน้ำในร่างกาย และทำให้หัวใจเต้นเป็นปกติ โพแทสเซียมทำงานในเซลล์ โซเดียมทำงานนอกเซลล์ การทำงานของเส้นประสาทและกล้ามเนื้อจะเสียไป หากระดับโซเดียม และโพแทสเซียมในร่างกายเสียสมดุล ช่วยให้สติปัญญาแจ่มใส่ โดยการส่งออกซิเจนไปเลี้ยงสมอง ช่วยกำจัดของเสียในร่างกาย ช่วยลดความดันโลหิต ช่วยรักษาภูมิแพ้ บริโภคเท่าไหร่จึงเหมาะสม และข้อควรระวัง? http://www.radiantpeach.com/banana-eat-it-every-day/ ไม่มีขนาดแนะนำให้รับประทานต่อวัน แต่ขนาด 1,600–2,000 มก.ต่อวัน จัดว่าเพียงพอสำหรับผู้ใหญ่ที่แข็งแรง การรับประทานปริมาณ 12 กรัมขึ้นไป...

ทำความรู้จักกับ “โฟเลต”

(Folic acid) (กรดโฟลิก, โฟลาซิน) http://www.mensfitness.com/nutrition/supplements/folic-acid โฟเลต คืออะไร และมีความสำคัญอย่างไร? ละลายในน้ำ เป็นหนึ่งในตระกูลวิตามินบีรวม รู้จักกันทั้งในชื่อ วิตามินบีซี (Bc) หรือวิตามินเอ็ม มีหน่วยวัดเป็นไมโครกรัม (มคก.) มีความสำคัญในการสร้างเม็ดเลือดแดง ช่วยในการเผาผลาญโปรตีน มีส่วนสำคัญในการสร้างกรดนิวคลีอิก (กรดไรโบนิวคลีอิก และกรดดีออกซิไรโบนิวคลีอิก) โฟเลตมีความจำเป็นต่อการแบ่งตัวเซลล์ ร่างกายต้องการในกระบวนการใช้น้ำตาล และกรดแอมิโน โฟเลตถูกทำลายได้ง่ายหากเก็บด้วยวิธีที่ไม่เหมาะสมในอุณหภูมิห้องเป็นเวลานานเกินไป ขนาดที่แนะนำ http://www.health.harvard.edu/blog/folic-acid-a-b-vitamin-lowers-stroke-risk-in-people-with-high-blood-pressure-201503187810 ขนาดที่แนะนำต่อวันคือ...

8 คำแนะนำ เกี่ยวกับ “โฟเลต” (Folic Acid)

http://naturalsociety.com/u-k-advisers-folic-acid-added-flour/ 1. คุณผู้หญิงควรรับประทานกรดโฟลิก และวิตามินบี 6 ให้เพียงพอ กรดโฟลิก 400 มคก. และวิตามินบี 6 เพียง 2–10 มก. สามารถลดความเสี่ยงของโรคหัวใจวายเฉียบพลันได้ร้อยละ 42 2. ผู้ที่ดื่มสุราเป็นประจำควรรับประทานกรดโฟลิกเพิ่มขึ้น http://www.thecandidadiet.com/vitamin-c.htm 3. ผู้ที่ทานวิตามินซีสูง เกินวันละ 2 กรัมต่อวัน ควรรับประทานกรดโฟลิกเพิ่มด้วย เนื่องจากวิตามินซีเพิ่มการขับกรดโฟลิกออกจากร่างกาย 4. หากคุณรับประทานยากันชักไดแลนติน...

วิตามินบี3 หรือ ไนอะซิน มีประโยชน์ต่อร่างกายเราอย่างไร?

http://siampill.com/th/information/news.html?news_id=38 วิตามินบี, 3ไนอะซินาไมด์, กรดนิโคตินิก, นิโคตินาไมด์ เป็นวิตามินที่ละลายในน้ำ และเป็นหนึ่งในสมาชิกของครบครัวบีรวม มีหน่วยวัดเป็นมิลลิกรัม (มก.) ร่างกายสามารถสร้างไนอะซินขึ้นเองได้โดยใช้กรดแอมิโนทริปโตแฟน ผู้ที่ร่างกายขาดวิตามินบี1 บี2 และบี6 จะไม่สามารถสร้างไนอะซินจากทริปโตแฟนได้ การขาดไนอะซินส่งผลให้บุคลิกภาพเปลี่ยนไปในทางที่แย่ลงได้ ปริมาณที่แนะนำต่อวัน อยู่ที่ 13–19 มก.สำหรับผู้ใหญ่ ส่วนสตรีให้นมบุตร ขนาดแนะนำคือ 20 มก. ไนอะซินมีส่วนสำคัญในการสังเคราะห์ฮอร์โมนเพศ (เอสโทรเจน โพรเจสเทอโรน เทสทอสเทอโรน) เช่นเดียวกับคอร์ติโซน ไทรอกซิน...